192 รูปแบบการใช้งานโดรนในอนาคต ตอนที่ 5

หมวดที่ 17 ด้านสุขภาพ

  1. โดรนสำหรับมนุษย์ – นักวิจัยของศุนย์เทคโนโลยีและวิทยาศาตร์ของภาค MIT มหาวิทยาลัย Harvard ได้พัฒนาโดรนชนิดนี้ เพื่อขนส่งวัคซีนและยาสำคัญอื่น ๆ ให้ผู้ที่ต้องการ เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตในแต่ละพื้นที่
  2. โดรนสำหรับการทดสอบสภาพอากาศภายในเหมืองและสถานที่อื่น ๆ
  3. โดรนตรวจร่างกาย – โดรนชนิดนี้จะเป็นโดรนขนาดจิ๋ว ใช้งานเป็นกลุ่ม ตรวจสอบรอบร่างกายของมนุษย์
  4. โดรนตรวจสุขภาพ – จะตรวจวัดและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
  5. โดรนเพื่อการวิเคราะห์การเคลื่อนไหวทางกายภาพ – คอยเฝ้าสังเกตสภาพร่างกาย นำผลมาวิเคราะห์ความแข็งแรงและแนะนำวิธีการฟื้นฟูร่างกายให้สุขภาพดี
  6. โดรนเพื่อการดูแลผิวพรรณ – ตรวจสอบทั้งสุขภาพผิวโดยรวมและผิวชั้นใน (ผิวหนังแท้)
  7. โดรนนำทางสำหรับบุคคลตาบอด
  8. โดรนตรวจจับโรคร้ายที่ติดเชื้อ – โดรนจะทำหน้าที่แจ้งเตือนเมื่อตรวจพบว่าคุณกำลังเข้าใกล้โรคร้ายเข้าไปทุกที

หมวดที่ 18 ด้านการศึกษา

  1. โดรนสำหรับข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์
  2. โดรนสำหรับทัศวิสัยแบบเรียลไทม์ – อย่างเช่นในขณะมีสงคราม คอยสังเกตการณ์ความเคลื่อนไหว
  3. โดรนสำหรับเลขาคณิต – สำหรับการสร้างรูปแบบกลางอากาศ แสดงหลักคณิตศาสตร์จากการคำนวณมุม ปริมาตร พื้นที่ และความสัมพันธ์
  4. โดรนสำหรับคำถามและคำตอบ – ไม่ว่าคุณจะไปที่ไหน โดรนชนิดนี้จะตั้งคำถามให้คุณจำนวนหนี่ง เสมือนเล่นเกมส์ตอบคำถาม เพื่อทดสอบความเข้าใจในเรื่องรอบตัว และมีโอกาสในการตอบ 3 ครั้ง
  5. โดรนเกี่ยวกับสารคดี – ทำหน้าที่บันทึกภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวในพื้นที่ต่าง ๆ เนื่องจากโดรนมีความเงียบมากกว่าพาหนะที่ใช้ประจำคือ เฮลิคอปเตอร์
  6. โดรนสำหรับเรียนภาษาเป็นเพื่อนมนุษย์
  7. โดรนเพื่อคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน – โจทย์คณิตศาสตร์จะถูกแก้ก่อนที่คุณจะลืมตาด้วยซ้ำ
  8. โดรนสำหรับการเตรียมตัวสอบ SAT-ACT – จัดหาแนวข้อสอบมาให้ฝึกทำ

หมวดที่ 19 การสำรวจด้านวิทยาศาสตร์

  1. โบราณคดี – ทีมนักโบราณคดีได้ค้นพบหลักแนวคิดมาจากหมู่บ้านชาวอเมริกันพื้นเมืองโบราณในรัฐนิวเม็กซิโกที่ใช้โดรนติดตั้งกล้องตรวจจับความร้อน ภาพความร้อนช่วยให้นักวิจัยสามารถมองเห็นชั้นใต้พื้นทะเลทรายที่ซึ่งช่วยพวกเขาโครงสร้างหรือสิ่งปลูกสร้างที่ถูกฝังอยู่
  2. โดรนเฝ้ามองปลาวาฬ – โดรนที่จะค้นหารังปลาวาฬได้ทั่วทุกแห่งในโลก
  3. โดรนติดตามการอพยพของฝูงนก
  4. สุขภาพป่าไม้ – ค้นหาทุกสิ่งที่เกิดขึ้นจากแมลงปีกแข็ง เช่นด้วงสนภูเขา เป็นต้น อีกทั้งโรคร้ายต่าง ๆ
  5. กระแสน้ำในมหาสมุทร ณ ปัจจุบัน – ใช้ระบบเซนเซอร์เพื่อตรวจวัดกระแสน้ำอุ่น
  6. แสงขั้วโลกเหนือ – ค้นหาแสงทางเหนือ}, ลมสุริยะจากทางตอนใต้และสนามแม่เหล็กโลก (Magnetospheric)
  7. เฝ้าสังเกตุการณ์เปลวสุริยะ – การระเบิดครั้งใหญ่ในชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ จะใช้โดรนสำหรับเฝ้าสังเกตุแสงอาทิตย์หลายรูปแบบ เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงตามเวลาจริง
  8. โดรนตรวจสอบเสียงรบกวนของโลก – เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของโลก

หมวดที่ 20 การท่องเที่ยว

  1. โดรนสำหรับการเดินทาง
  2. โดรนแท็กซี่
  3. โดรนส่งเข้าบาร์
  4. โดรนสำหรับการดึงดูดความสนใจนักท่องเที่ยว
  5. โดรน Hop-on-Hop-Off โดรนสำหรับการนำเที่ยวชมรอบเมือง
  6. โดรนให้ความช่วยเหลือฉุกเฉิน
  7. โดรนแลกเปลี่ยนสินค้า/โดรนบรรทุกของ
  8. โดรนตู้นอน

Drone-Commuter-1 โดรนสำหรับการเดินทางในอนาคต

หมวดที่ 21 โดรนแขนหุ่นยนต์

การเพิ่มแขนหุ่นยนต์เข้ากับโดรนและบางอย่างที่ไม่สามารถทำได้ก็สามารถทำได้ด้วยแขนหุ่นยนต์นี้

  1. โดรนหยิบวัตถุอันตราย
  2. โดรนเคลื่อนย้ายสารเคมีอันตราย
  3. โดรนช่วยเหลือสัตว์อันตราย
  4. โดรนเล่นหมากรุก
  5. โดรนแข่งงัดข้อ
  6. โดรนเชื่อมโลหะในสถานที่ที่ยากจะเข้าถึง
  7. โดรนซ่อมแซมเครื่องจักรกลในสถานที่ที่ยากจะเข้าถึง
  8. โดรนเคลื่อนย้ายขยะอวกาศ

Drone-Robotic-Arm-9

โดรนกับแขนหุ่นยนต์

ที่มาบทความ : บทความโดย Thomas Frey, เจ้าของหนังสือชื่อ Communicating with the Future หนังสือที่เปลี่ยนทุกสิ่ง บันทึก : เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557
สืบค้นจาก : http://www.futuristspeaker.com/business-trends/192-future-uses-for-flying-drones/

Copyright © 2018 LEARN : อาณาจักรภูมิสารสนเทศ อาณาเขตแห่งการเรียนรู้

LEARN