การประเมินที่ดินสำหรับหาความเหมาะสมของพืช

ในที่นี้นำเสนอการวิเคราะห์ความเหมาะสมของที่ดินจังหวัดขอนแก่นสำหรับ ข้าว อ้อย มันสำปะหลังและยางพารา วัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการคุณภาพที่ดิน ที่มีผลกระทบต่อพืชต่างๆ โดยเปรียบเทียบความต้องการของพืช กับคุณภาพที่ดิน โดยใช้วิธีของ FAO

วิธีการศึกษา

1) วิเคราะห์ความต้องการคุณภาพที่ดินหรือปัจจัยของพืชแต่ละชนิด

2) จัดสร้างฐานข้อมูลของคุณภาพที่ดิน

3) บูรณาการคุณภาพที่ดินด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ตามเงื่อนไขของแบบจำลอง

4) เปรียบเทียบคุณภาพที่ดินกับความต้องการของพืช

5) จัดทำแผนที่ความเหมาะสมของพืช

ภาพแสดงขั้นตอนการศึกษา ที่มา : Paiboonsak, S. and Mongkolsawat, C. (2004)
ภาพแสดงขั้นตอนการศึกษา
ที่มา : Paiboonsak, S. and Mongkolsawat, C. (2004)
ภาพแผนที่แสดงพื้นที่เหมาะสมสำหรับปลูกข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และยางพารา ที่มา : Paiboonsak, S. and Mongkolsawat, C. (2004)
ภาพแผนที่แสดงพื้นที่เหมาะสมสำหรับปลูกข้าว อ้อย มันสำปะหลัง และยางพารา
ที่มา : Paiboonsak, S. and Mongkolsawat, C. (2004)

จะเห็นได้ว่าในการวิเคราะห์ครั้งนี้ได้ใช้ฟังก์ชันในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คือ การประมาณค่าในช่วง โดยใช้การวิเคราะห์น้ำฝน และการซ้อนทับแบบคณิตศาสตร์ ด้วยการคูณ

ที่มา : ตำราเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร์

Copyright © 2018 LEARN : อาณาจักรภูมิสารสนเทศ อาณาเขตแห่งการเรียนรู้

LEARN

404 Not Found

404

Not Found

The resource requested could not be found on this server!


Proudly powered by LiteSpeed Web Server

Please be advised that LiteSpeed Technologies Inc. is not a web hosting company and, as such, has no control over content found on this site.